โดยโครงสร้างของปลาน้ำจืดนั้น จะมีแรงดันออสโมซิสในเลือดอยู่ในระดับสูงกว่าน้ำที่อาศัยอยู่มาก จึงทำให้มีการไหลของน้ำเข้าสู่ร่างกายและเกลือแร่แพร่ออกสู่น้ำภายนอกได้ง่าย โดยไม่ให้น้ำซึมผ่านเข้าสู่ร่างกายและออกจากร่างกายได้
แต่ทว่ากระบวนการดังกล่าวก็ยังไม่ดีพอ เพราะเหงือกซึ่งเป็นอวัยวะสำคัญที่ปลาใช้หายใจมีน้ำไหลผ่าน เมื่อมีเหงือก น้ำก็มีโอกาสไหลผ่านเข้าสู่ภายในร่างกายได้ จึงกำจัดน้ำส่วนที่เกินที่ถูกดูดเข้าสู่ร่างกายออกสู่นอกร่างกายได้วิธีการขับถ่ายนำเอาปัสสาวะซึ่งมีความดันออสโมซิสต่ำกว่าเลือดออกสู่ภายนอกร่างกาย
ร่างกายส่วนใหญ่ของปลาน้ำจืดจะปกคลุมด้วยผิวหนังและเกล็ดซึ่งไม่ยอมให้น้ำซึมผ่านนอกจากบริเวณที่เป็นเหงือกแลกเปลี่ยนก๊าซหายใจเท่านั้นที่น้ำผ่านได้ และโดยธรรมชาติปลาน้ำจืดไม่ดื่มน้ำเลย ซึ่งแตกต่างจากปลาทะเล เพราะการดื่มน้ำจะทำให้ร่างกายมีน้ำมากเกินความจำเป็น
ซึ่งจะมีน้ำบางส่วนไหลผ่านบริเวณปากและเหงือกเพื่อช่วยในการแลกเปลี่ยนก๊าซหายใจก็จะมีโอกาสซึมเข้าไปในร่างกายได้บ้าง และเกลือแร่จากเลือดก็จะแพร่ออกมาทางเหงือกได้มากพอดู ปลาน้ำจืดจึงมีไตขับน้ำส่วนเกินออกไปเป็นปัสสาวะ และมีกลุ่มเซลล์พิเศษอยู่บริเวณเหงือกคอยดูดเอาเกลือแร่ต่าง ๆ ที่จำเป็นกลับสู่ร่างกาย
กดลิงค์เพื่ออ่านเรื่องของปลาน้ำจืดชนิดต่างๆ
- ปลากราย หรือ ปลาหางแพน ( Spotted Featherback)
- ปลาสะตือ (Giant featherback)
- ปลากระสูบขีด (ปลากระสูบขีด)
- ปลากระโห้ (Siamese Giant Carp)
- ปลากระแห หรือ ปลาตะเพียนหางแดง (Schwanenfeld’s Tinfoil Barb)
- ปลากระทิงไฟ (Fire Spiny Eel)
- ปลาก้าง (Red-tailed Snakehead)
- ปลากาหรืออาจเรียกว่า ปลาเพี้ย (Greater Black Shark)
- ปลาตะพัด (Asian Arowana)
- ปลาตะเพียนขาว หรือ ปลาตะเพียนเงิน ( Common Silver Carp)
- ปลาตองลาย ( Blanc’s Striped Featherback )
- ปลาพลวง หรือ ปลาพลวงหิน ( Soro Brook Carp)
- ปลานวลจันทร์ ( Small Scale Mud Carp)
- ปลาน้ำเงิน หรือ ปลานาง (Common Sheatfish)
- ปลานิล (Nile Tilapia)
- ปลาแก้มช้ำ (Red-cheek Barb)
- ปลาเค้าขาว (Great White Sheatfish)
- ปลาเค้าดำ (Great Black Sheatfish)
- ปลาเทพาหรือ ปลาเฉิม (Chao Phraya Giant Catfish )
- ปลาเทโพ (Black Ear Catfish)
- ปลาชะโด (Giant Snake-head Fish)
- ปลาเสือพ่นน้ำ (Common Archer Fish)
- ปลาหางไหม้ หรือ ปลาฉลามหางไหม้ (Siamese bala-shark)
- ปลาพรม (Greater Bony–lipped Barb)
- ปลาเสือตอ (Siamese tiger fish)
- ปลาสร้อยขาว หรือ ปลาสร้อย (Jullien’s Mud Carp)
- ปลาหมอตาล หรือ ปลาอีตาล (Temminck’s Kissing Gourami)
- ปลาหมอช้างเหยียบ หรือ ปลาหมอโค้ว (Striped Tiger Nandid)
- ปลาสลาด หรือ ปลาฉลาด (Grey Featherback)
- ปลากั้ง หรือ ก้าง (Channidae)
- ปลาช่อนงูเห่า (Channa-aurolineatus)
- ปลาช่อน (Channa striata)
- ปลาช่อนข้าหลวง (Emperor Snakehead, Channa marulioides)
- ปลาช่อนดำ (Black snakehead)
- ปลาช่อนงูเห่าแม่น้ำโขง
- ปลากะสง (Blotched Snakehead)
- ปลาบ้า หรือ ปลาพวง (Hoeven’s Slender Carp)
- ปลาแรด (Giant Gourami)
- ปลาสลิดหรือ ปลาใบไม้ (Snake Skin Gourami)
- ปลากะพงขาว (Giant Perch)
- ปลาบึก (Mekong Giant Catfish)
- ปลาอัลลิเกเตอร์ (Alligator)
- ยี่สกไทย (Seven stripped carp)
- ปลาดุกปากกว้าง (Ogre Catfish)
- ปลาหว้าหน้านอ
- ปลาจิ้มฟันจระเข้แคระ
- ปลาหนวดพราหมณ์ 7 เส้น 14 เส้น
- ปลาตูหนา และ ปลาสะแงะ
- ปลาก้างอินเดีย
- ปลาหมอแคระขี้เซา
- ปลาหมอแคระแม่กลอง
- กระเบนราหูน้ำจืด
- ปลาลิ่น
อ่าน : รู้จักปลาน้ำจืดให้มากขึ้น
อ่าน : ปลาน้ำจืด
อ่าน คู่มือตกปลาน้ำจืด