แท็ก: ฟอสซิล
หลักฐานใหม่ ‘ต้นกำเนิดมนุษย์’ อายุ 540 ล้านปี อาจไม่เป็นอย่างที่เคยคิดไว้
หลายปีก่อนนักวิจัยได้ออกมาพูดถึง 'ต้นกำเนิดมนุษย์' อายุ 540 ล้านปี สิ่งนี้เป็นเหมือนเซลตั้งต้นที่อาจเป็นบรรพบุรุษที่เก่าแก่ที่สุดของมนุษย์อย่างพวกเรา
ค้นพบฟอสซิล ‘สัตว์นักล่า’ รายแรกของโลกในสหราชอาณาจักร
อย่าเพิ่งคิดว่านี่มันตัวประหลาด หากไม่เคยเห็นต้นกำเนิดมนุษย์ ถ้าอยากดูมีลิงค์ที่ท้ายเรื่อง .. สำหรับเรื่องนี้ นักวิจัยบอกว่า มันคือสัตว์นักล่าที่อันตรายถึงขีดสุด
หลักฐานพฤติกรรม ‘แมลงยุคจูราสสิค’ ห้อยไข่อยู่ที่ขาอยู่เหมือนพวงองุ่น
แมลงน้ำที่มีชีวิตอยู่เมื่อราว 160 ล้านปีก่อน พวกมันมีไข่ห้อยอยู่ที่ขา เหมือนพวงองุ่นที่ห้อยจากเถาวัลย์ โดยเมื่อไม่นานนี้ นักวิจัยได้ค้นพบหลักฐานของพฤติกรรมแมลงในฟอสซิลที่ได้รับการอนุรักษ์ไว้อย่างดี
นี่คือหมีน้ำสายพันธุ์ใหม่ ที่ติดอยู่ในอำพันอายุ 16 ล้านปี
หมีน้ำหรือ Tardigrade (ทาร์ดิเกรด) เป็นสัตว์โบราณที่มีชีวิตอยู่จนถึงทุกวันนี้ มันเป็นที่รู้จักในฐานะสัตว์ที่เกือบจะทำลายไม่ได้
ไดโนเสาร์ชนิดใหม่ ‘Meraxes gigas’ ยาว 11 เมตร มีแขนเล็กเหมือน T.Rex
Meraxes gigas (M. gigas) ไดโนเสาร์ที่ค้นพบในอาร์เจนตินา ได้รับการระบุว่าเป็นสายพันธุ์ใหม่ พวกมันชีวิตอยู่ 20 ล้านปีก่อน T.Rex แต่มีร่างกายที่ใหญ่โตเหมือนกัน
ฟอสซิล ‘จุลินทรีย์’ อายุ 3.5 พันล้านปี เก่าแก่ที่สุดในโลก
ในที่สุดนักวิจัยก็ค้นพบหลักฐานที่หนักแน่นว่า หินอายุ 3.5 พันล้านปี ในออสเตรเลียมีฟอสซิลของจุลินทรีย์ที่เก่าแก่ที่สุดที่มนุษย์รู้จัก การค้นพบนี้ทำให้เกิดการโต้เถียงที่ยืดเยื้อมานานหลายปี
ล่าขุมทรัพย์ ‘ฟอสซิลที่หายไป’ ถูกพบอีกครั้งหลังผ่านมา 70 ปี
ฟอสซิลที่หายไป แต่ไม่ได้หายเพราะถูกขโมย แต่เพราะนักวิจัยที่พบฟอสซิลนี้เป็นครั้งแรก ไม่สามารถบันทึกพิกัดที่แน่นอนได้ จนเป็นเหตุให้เดินทางกลับมาตรงตำแหน่งเดิมไม่ได้
ค้นพบฟอสซิล ‘ไข่ในไข่’ ถือเป็นกรณีแรกของไดโนเสาร์
ไข่ในไข่หรือที่เรียกว่า "ovum-in-ovo" เป็นสิ่งที่พบได้เป็นบางครั้งในสัตว์อย่าง นก ไก่ เพราะสัตว์พวกนี้มีมดลูกแบบพิเศษ แต่สำหรับสัตว์เลื้อยคลาน มันเป็นอะไรที่ยากที่จะได้พบไข่ในไข่
ค้นพบ ‘จระเข้แคระยักษ์’ 2 สายพันธุ์ใหม่ ในเคนยา (สูญพันธุ์แล้ว)
อาจฟังดูแปลกที่เรียกมันว่า "จระเข้แคระยักษ์ (Giant dwarf crocodiles)" เพราะจากชื่อจะพางงว่า ตกลงตัวเล็กหรือใหญ่กันแน่ แต่นักวิจัยก็เรียกมันแบบนั้นเพราะทั้ง 2 สายพันธุ์ที่พบใหม่นี้
มองโกลารัคเน่ จูราสสิก้า ฟอสซิลแมงมุม ‘ผู้ & เมีย’ ขนาดใหญ่ที่สุดเท่าที่เคยบันทึก
มองโกลารัคเน่ จูราสสิก้า เป็นแมงมุมยักษ์ที่สูญพันธุ์ไปเมื่อนานมาแล้ว มันดำรงอยู่ในช่วงยุคจูราสสิค โดยตัวอย่างแรกถูกเรียกว่า "เนฟิลา" ถูกพบในปี 2005 ส่วนตัวอย่างที่สองคือ "มองโกลารัคเน่" พบครั้งแรกในปี 2013