แท็ก: กิ้งก่า
ตะกอน-อีกัวน่าเขียว ต่างกันตรงไหน ดูเอาไว้จะได้ไม่จับผิวตัว
หลังจากที่นำเสนอเรื่องของอีกัวน่าเขียวที่กลายเป็นสัตว์รุกรานในไทย และกำลังฮิตตามจับกัน วันนี้เลยขอเอาเรื่องของกิ้งกาที่คล้ายกับอีกัวน่าเขียวมาให้รู้จักกัน มันคือ “ตะกอง” หรือ “ลั้ง”
อีกัวน่า จะกลายเป็นสัตว์รุกรานที่น่ากลัวในไทยได้หรือไม่
ช่วงนี้สื่อไทยกำลังเล่นข่าวอีกัวน่าระบาดค่อนข้างบ่อย ทีแรกโดยส่วนตัวก็คิดว่ามันไม่น่าจะส่งผลอะไรมาก เพราะความจริงคนไทยคิดเมนูเก่ง แถมอีกัวน่าก็ไม่ใช่สัตว์ที่ราคาถูกสักเท่าไรด้วย
กิ้งก่าตุ่นเม็กซิกัน ตัวประหลาดที่เหมือนไม่มีจริง
กิ้งก่าตุ่นเม็กซิกัน ซึ่งภาษาอังกฤษใช้คำว่า Mexican mole lizard ตรงนี้ในชื่อไทยแอคแมวที่ไม่แน่ใจว่าเรียกยังไง ก็เลยขอแปลตรงๆ ด้วยชื่อน่ารักๆ นี่เลยก็แล้วกัน
3 เรื่องน่าทึ่งของ ‘นาโนคาเมเลี่ยน’ สัตว์เลื้อยคลานเล็กที่สุดในโลก
กิ้งก่าคาเมเลี่ยน หลายๆ คนคงรู้จักกิ้งก่าจอมพรางตัวกัน ปัจจุบันมันเป็นหนึ่งในสัตว์เลี้ยงยอดฮิตของคนที่ชอบเลี้ยงสัตว์แปลกๆ โดยขนาดของมันมีตั้งแต่ 12 นิ้ว จนไปถึงเมล็ดข้าว ใช่คาเมเลี่ยนตัวที่เล็กสุดมีขนาดเท่าเมล็ดข้าว
กิ้งก่าสายพันธุ์ใหม่ ทั้งตัวติดอยู่อำพันอายุ 110 ล้านปี
ดาวเด่นของภาพยนต์ Jurassic Park คือยุงที่แข็งตัวในอำพัน แม้ว่าคุณจะไม่สามารถสกัดเลือดจากตัวอย่างเช่นนั้นได้ แต่ก็ยังมีกิ้งก่าในยุคไดโนเสาร์ที่ติดอยู่ในอำพันให้ศึกษา
จิ้งเหลนขาจิ๋ว สัตว์มีกระดูกสันหลังตัวแรกที่สามารถ ‘สืบพันธุ์แบบสองมิติ’
นักวิจัยจากมหาวิทยาลัยซิดนีย์รายงานว่าสังเกตเห็นจิ้งเหลนขาจิ๋ว Three-toed skink (Saiphos equalis) สามารถวางไข่และให้กำเนิดลูกเป็นตัวในครอกเดียวกัน นี่เป็นครั้งแรกที่สัตว์มีกระดูกสันหลังสามารถทำได้แบบนี้
หลักฐานใหม่ทำให้ ‘งูทะเล 4 ขา’ กลายเป็น ‘กิ้งก่าทะเล 4 ขา’
ในปี 2015 นักบรรพชีวินวิทยาได้ประกาศการค้นพบที่น่าทึ่งครั้งใหม่ ซากดึกดำบรรพ์จากยุคครีเทเชียสที่พบในบราซิลชิ้นนี้เป็นโครงกระดูกที่สมบูรณ์ของสัตว์ที่ดูเหมือนงู แต่จุดที่สะดุดตาคือขาเล็กๆ
‘คางคกมีเขา’ ที่ไม่ใช่คางคกแต่เป็นกิ้งก่าหนาม
กิ้งก่าหนาม (Horned lizards) หรือที่รู้จักกันในชื่อ คางคกมีเขา (horny toads) หลายคนอาจจะงงว่าตกลงมันเป็นคางคกหรือกิ้งก่า แน่นอนว่ามันเป็นเป็นกิ้งก่า (สัตว์เลื้อยคลาน) ไม่ใช่คางคก (สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ)
กิล่ามอนสเตอร์ กิ้งก่าที่ใช้พิษสังหารและรักษามนุษย์
การโดนใบหรือลำต้นของ ต้นแอปเปิลพิษ หรือเผลอกินกบลูกศรพิษอเมซอน นั้นถือว่าหายนะครั้งใหญ่ของคุณ เพราะทั้งสองอย่างนั้นมีพิษร้ายแรงมาก และมันยังสามารถเข้าสู่ร่างกายด้วยการสัมผัส
ค้นพบ “กิ้งก่า” ที่ดำน้ำลึกได้ 16 นาที ด้วยการสร้างฟองอากาศติดจมูก
ทีมนักวิจัยจากมหาวิทยาลัยเบอร์มิงตั้น และมหาวิทยาลัยแห่งรัฐนิวยอร์กได้ค้นพบว่ากิ้งก่าอาโนลสามารถพัฒนาการหายใจของมันให้สามารถมีฟองอากาศคลุมตรงปลาจมูกของมันสำหรับการหายในใต้น้ำได้